- Hua Menglian “Big Data, E-Commerce and Deceptive Pricing”
- Jesada Buaban “AI Buddha: Savior in the Capital World”
- Li Wei and Xia Mingyue “The Ethical Problems of Virtual Eternity Technology and its Challenge to the Ethics of Chinese Deceased Culture”
- Prach Panchakunathorn “Risk-Taking and Justice”
- Zao Khamdai (Venerable) “B-technique”
- เกลอ ประสิทธิเมกุล “เทคโนโลยีกำหนดความสุขอย่างนั้นหรือ?”
- ชุตริณธรณ์ ฝั้นศิริ “การพัฒนาความสุขตามทัศนะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต): ศึกษาเปรียบเทียบกับจิตวิทยาเชิงบวก”
- ธนัชชนม์ ธนาธิป-ปริพัฒน์ “การไม่สามารถแทนที่ของหุ่นยนต์นักบวชปัญญาประดิษฐ์: พิจารณาจากมุมมองพุทธศาสนา”
- ธนีพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม “การพัฒนาจริยธรรมด้วยเรื่องเล่าทางศาสนา: การจัดจริยศึกษาตามแนวทางแบบเรื่องเล่าด้วยทศชาติชาดกสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี”
- ไพเราะ มากเจริญ “ปัญญาประดิษฐ์ต้องรับผลของกรรมหรือไม่: มุมมองจากพุทธศาสนาเถรวาท”
- มงคล เทียนประเทืองชัย “ปัญญาประดิษฐ์คิดและทำไม่เหมือนปัญญามนุษย์”
- รัฐพล เพชรบดี “ว่าด้วย มนุษย์ ชีวิต ความหมาย ความรัก และปัญญาประดิษฐ์ กับการสำรวจเชิงทดลองทางความคิด”
- ไลลา หริ่มเพ็ง “จริยศาสตร์แห่งความอาทรและจริยศาสตร์แห่งความยุติธรรมในการจัดสรรซะกาต”
- วรเทพ ว่องสรรพการ “จินตนาการทางการเมือง: ศึกษาเปรียบเทียบขบวนการเบอร์ซีห์กับขบวนการภาคประชาชนในสังคมไทย”
- สุพิชชา เพชรสังข์ “การใช้มังงะเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้คำสอนทางพระพุทธศาสนา: “เดธโน้ต สมุดมรณะ” และกฎแห่งกรรม”
- สุมาลี มหณรงค์ชัย “ความหมายของศาสนาในยุคเทคโนโลยีรื้อทำลาย”
- เสาวณีย์ บุญคำ “การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่อง AI (การวินิจฉัย)ที่มีบทบาทต่อสังคมตามทรรศนะของปีเตอร์-พอล เฟอร์เบค”
- เสาวลักษณ์ บุญคำ “การวิเคราะห์เรื่องธรรมชาติของมนุษย์ในทรรศนะรูซโซเพื่อเสนอแก้ปัญหาอาชญากรรมในไทยเชิงประยุกต์”
- อนุชา พูลสิน “ความเข้าใจเรื่องฮาลาลของผู้ขอการรับรองอาหารฮาลาลจากคณะกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร: การศึกษาทัศนะผู้ให้คำปรึกษาโรงงาน”
- อมรเทพฤทธิ์ สองสียนต์ และ ศักรินทร์ ณ น่าน “โลกที่ไม่ได้มีแค่มนุษย์: การเข้าใจรักโรแมนติกในสังคมดิจิตัลผ่านภาพยนตร์เรื่อง Her”
- อัญชลิตา สุวรรณะชฎ “ตรรกะและภาษาของ รูดอล์ฟ คาร์นาป”
- อำนาจ ยอดทอง “ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ในมุมมองพระพุทธศาสนา”
Author will receive comments from reviewers via E-mail. Please have your paper revised according to the comments. Send an MS-Word file of your revised paper to Assist. Prof. Dr.Theptawee Chokvasin within Monday 16th December, 2019. The revised papers will be compiled into the proceeding of the Society.
ผู้เขียนจะได้รับคำแนะนำเพื่อการปรับปรุงแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ ดังที่จะส่งให้อีกครั้งหนึ่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ขอให้ผู้เขียนพิจารณาปรับแก้ไขตามคำแนะนำและส่งฉบับแก้ไขให้ ผศ.ดร.เทพทวี โชควศิน ภายในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคมนี้ เพื่อที่จะได้รวบรวมและนำเข้าสู่เอกสารสืบเนื่องของการประชุมสัมมนาต่อไป
บทความที่ผ่านความเห็นชอบของผู้ทรงคุณวุฒิให้นำเสนอในงานประชุมสามัญประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2562