กำหนดการงานประชุมสามัญประจำปี 2563 ในหัวข้อ “ความรู้ ปรัชญา และข่าวปลอมในยุคดิจิทัล”

กำหนดการงานประชุมสามัญประจำปี 2563
ในหัวข้อ “ความรู้ ปรัชญา และข่าวปลอมในยุคดิจิทัล”
โดย สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย
ร่วมกับ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

วันจันทร์ที่ 14 และวันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2563
ห้องประชุม ชั้น 16 อาคารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (อาคาร 27)

วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม 2562

08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน
08.30 – 08.45 น. คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กล่าวพิธีเปิด
08.45 – 09.45 น. ความคิดเชิงวิพากษ์และปรัชญาการศึกษาของ จอห์น ดิวอี้ (อ.ดร. ณฐิกา ครองยุทธ ม.มหิดล)
09.45 – 10.00 น. รับประทานอาหารว่าง

นำเสนอบทความ (ห้องประชุมวิทยาลัยการดนตรี ชั้น 16 อาคาร 27)
10.00 – 11.00 น. “ปาณาติบาต: จากการฆ่าเอง เครื่องมือฆ่า ใช้คนอื่นฆ่า เครื่องจักรฆ่า และโปรแกรมฆ่า” ผศ.ดร. อำนาจ ยอดทอง (ม.มหิดล)
และ “จริยธรรมเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ในมุมมองพุทธทาส” ผศ.ดร. อำนาจ ยอดทอง (ม.มหิดล)
11.00 – 11.30 น. “เรื่องเล่าของชีวิตที่ดี” ดร. เจิด บรรดาศักดิ์ (ม.มหิดล)

12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.00 น. ญาณวิทยากับข่าวปลอม : ปัจเจกชน กลุ่มคน และวิทยาศาสตร์เปิด ในฐานะแนวทางบรรเทาปัญหา (ผศ.ดร. ศิรประภา ชวะนะญาณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

14.00 – 14.15 น. พักน้ำชา/กาแฟ อาหารว่าง

นำเสนอบทความ ห้อง 2708A
14.15 – 14.45 น. “บางเงาที่เลือนลางของภาวะข้อมูลท่วมท้น: อุปมานิทัศน์เรื่องถ้ำกับโลกอินเทอร์เน็ตภาษาไทย” พุฒวิทย์ บุนนาค
14.45 – 15.15 น. “ตัวตนออฟไลน์และตัวตนออนไลน์: ตัวตนไหนจริงกว่ากันและ/หรือเป็นตัวตนที่พึงประสงค์มากกว่ากัน” ภูดิส ศิสิตศิชศักดิ์
15.15 – 15.45 น. “ความจริง: ความรู้ ปรัชญา และข่าวปลอมในยุคดิจิทัล” มงคล เทียนประเทืองชัย
15.45 – 16.45 น. ประชุมใหญ่ประจำปีสมาคม

ห้อง 2708B
14.00 – 14.30 “A Conversation on Intention in Art” Frank Hoffman
14.30 – 15.00 “Nietzschean Intellectual Virtues and COVID-19 Fake News” Joseph Martin Jose
15.00 – 15.30 “Mapping Life-Affirmation in the Anthropocene: Cynical Reason and (Post-)Truth” Anton Heinrich Rennesland
15.30 – 16.00 PM “Befriending with Neighbors: Rethinking Kierkegaard’s Concern about Friendship” Puttipong Oungkanungveth
16.00-16.30 “Knowledge, Philosophy and Fake NEWS in Digital Era” Surachai Phetkaew

วันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2563

ห้อง 2708 A
09.30-10.00 น. เสวนาเพื่อเป็นเกียรติแก่ ศ.ดร. วิทย์ วิศทเวทย์
รศ. สมฤดี วิศทเวทย์, ผศ. อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย, ผศ.ดร. ประทุม อังกูรโรหิต, รศ.สิวลี ศิริไล, ผศ. สุนัย ครองยุทธ

10.00-10.15 น. อาหารว่าง

10.15-11.45 น. เสวนาเพื่อเป็นเกียรติแด่ ศ.ดร. วิทย์ วิศทเวทย์(ต่อ)
รศ.ดร. สมฤดี วิศทเวทย์, ผศ. อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย, ผศ.ดร. ประทุม อังกูรโรหิต, รศ.สิวลี ศิริไล, ผศ. สุนัย ครองยุทธ

11.45 – 12.45 น. อาหารกลางวัน

12.45 – 13.15 น. “การคิดวิพากษ์ในฐานะคุณลักษณะทางปัญญา” ดร. ณฐิกา ครองยุทธ

13.15-13.45 น. “ข้อเสนอเรื่องการยกเลิกใช้คำว่า ‘ข่าวปลอม’ ของโจชัว แฮบกู้ด-คู้ท: ข้อโต้แย้งบางประการ” กษิดิศ พรมรัตน์

13.45 – 14.00 น. อาหารว่าง

14.00 – 14.30 น. “ความจำเป็นของปรัชญาเทคโนโลยีและการคิดเชิงวิพากษ์ในยุคดิจิทัล” ธัลดล ตั้งกิจเจริญพร
14.30 – 15.00 น. “สังคมออนไลน์กับค่าความจริงในโลกที่เปลี่ยนไป” อรุณี สุวรรณประภา
15.00 – 15.30 น. “Instrumental Reason and Recognition: How Robots Can be Human” ปวริศร์ หนูทอง
15.30 – 16.00 น. “ความสุดโต่งในแนวคิด Technological Determinism ที่มองข้ามความเป็นสังคมศาสตร์” พีรยา เทียมปัญญา
16.00 – 16.30 น. “From A.I. Artificial Intelligence (2001) to Black Mirror (2011): Human’s Perspectives on Technology in the Media” บุณยานุช ปัญจไพบูลย์
16.30 – 17.00 น. “Metafictional Avatar: The new role of the self in metafictional games” ปาเจรา ธนสมบูรณ์กิจ

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ.2564

ประกาศสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2564

เนื่องจากสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยและเป็นสมาชิกของสหพันธ์ปรัชญานานาชาติ (FISP) และสหพันธ์ปรัชญานานาชาติได้จัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติมาระยะหนึ่งแล้ว และเนื่องจากสมาคมฯมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนและการศึกษาปรัชญาในระดับโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงได้มีมติจัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาในระดับชาติขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกศ ในระหว่างวันที่ 20 ถึง 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 นี้ (หากมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 จะมีการประกาศอีกครั้งหนึ่งจาก International Philosophy Olympiad)

รายละเอียดการสอบแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาระดับชาติ

1. สมาคมมีสิทธิส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ 2คน ดังนั้นจะคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 คนเป็นตัวแทนของประเทศไทย

2. คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าแข่งขัน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมแล้วในขณะที่มาสอบ ในทุกกรณีต้องอายุไม่เกิน 20 ปีในปีที่มีการสอบแข่งขั (เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป)

3. การจัดสอบแข่งขันจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสอบจะเป็นรูปแบบเดียวกันกับการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติ คือมีข้อเขียนคัดสรรจากงานเขียนของนักปรัชญาจำนวนหนึ่งมาให้เลือก และเขียนเรียงความเพื่อตอบและอภิปรายเกี่ยวกับข้อเขียนนั้น ใช้เวลาสี่ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 9.00 ถึง 13.00 น. การเขียนเรียงความต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น คณะกรรมการที่สมาคมปรัชญาฯจะแต่งตั้งขึ้นจะเป็นผู้ตรวจให้คะแนนนักเรียนที่เข้าสอบ โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับการสอบโอลิมปิกนานาชาติ การแข่งขันจะประกาศผลออกมาเป็นชื่อนักเรียนที่ได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติสองคน และสำรองอีกสองคน เรียงความที่ผู้เข้าสอบเขียนควรมีเนื้อหาที่ตรงประเด็นกับหัวข้อที่เลือก (relevance to the topic) ความเข้าใจประเด็นทางปรัชญาในหัวข้อที่เลือก (philosophical understanding of the topic) การแสดงเหตุผลโต้แย้งที่น่าเชื่อถือ (persuative power of argumentation) ความคิดริเริ่ม (originality) และความสอดคล้องกันของความคิด (coherence) ในการสอบนักเรียนสามารถนำพจนานุกรมที่เป็นเล่มเข้าไปได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำพจนานุกรมอีเล็คโทรนิกส์หรือโทรศัพท์มือถือเข้าสอบ

4. นักเรียนที่สนใจจะสมัครเข้าสอบแข่งขันกรุณาแจ้งความจำนงและกรอกใบสมัครส่งมาที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทพทวี โชควศิน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน กทม. 10900 อีเมล์ dr.theptawee@yahoo.com โดยขอให้สแกนภาพใบสมัครและบัตรประชาชนส่งมาทางอีเมล์ ภายในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2564

5. เนื่องจากในขณะนี้สมาคมฯยังไม่มีงบประมาณในการส่งนักเรียนที่ได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปร่วมการแข่งขันที่ประเทศโปรตุเกศ นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโอลิมปิกนานาชาติจึงต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานที่แข่งขันเอง (หากกรรมการนานาชาติมีมติให้จัดการแข่งขัน) ส่วนค่ากินอยู่และค่าที่พักระหว่างแข่งขันทางผู้จัดจะเป็นผู้ออกให้

6. ค่าลงทะเบียนสมัครสอบ 500 บาท จ่ายเป็นเงินสดก่อนเข้าสอบ

7. คำตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศมา ณ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2563

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

(ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์)

ใบสมัครเข้าสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ พ.ศ. 2563

รูปถ่ายขนาด 2 นิ้ว 1 รูป

ชื่อ-นามสกุล ………………………………………………………………..

เลขประจำตัวประชาชน ………………………………………………………….

วันเดือนปีเกิด ………………………………………………………………………..

โรงเรียน/มหาวิทยาลัย …………………………………………………………………………

นักเรียนต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนมาพร้อมกับใบสมัครนี้ด้วย

รายชื่อนักเรียนที่เข้าสมัครสอบแข่งขันคัดเลือกโอลิมปิกปรัชญาประจำปี พ.ศ. 2563


1. นางสาวศิรินธร์ จิตคล่องทรัพย์ -โรงเรียนไทยคริสเตียน
2. นายพัทธดลย์ โรจน์รัชสมบัติ – โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
3. นายปรมตถ์ บุณยะเวศ – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. นายปิยภพ พาณิชผล – โรงเรียนอัสสัม
5. นางสาวธัญภัสร์ ชัยเสรี – โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน
6. นางสาวอินทุอร พึ่งสมวงศ์ – โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
7. นายปณิธิ วนศิริกุล – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8. นายกนกชัย ตลอดกาล – มหาวิทยาลัยนเรศวร
9. นายชวัลวิทย์ ภูมิสะอาด – โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน
10. นายคชาภัทร กิจนิธี – โรงเรียนเทพศิรินทร์
11. นายเมธานันต์ งามกิตติคุณ – โรงเรียนโพธิสารพิทยากร
12. นายสหรัธ ปานผา – โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
13. นายชุติพล เกียรติศรีธนกร – โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
14. นางสาวเพกา เลิศปริสัญญู – โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

การสอบจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 9.00-13.00 น. ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์  ชั้น 2 อาคารบรมราชกุมารี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทั้งนี้ การสอบเป็นการเขียนบทความตามหัวข้อที่เลือก (ด้วยการพิมพ์จากโปรแกรม Microsoft Word ในคอมพิวเตอร์)  สมาคมฯ อนุญาตให้ผู้สอบนำพจนานุกรมเล่มเข้าห้องสอบได้ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้อุปกรณ์อิเล็คโทรนิคส์ใดๆ

ประกาศสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย การสอบแข่งขันคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญา ประจำปี พ.ศ. 2563

เนื่องจากสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยและเป็นสมาชิกของสหพันธ์ปรัชญานานาชาติ (FISP) และสหพันธ์ปรัชญานานาชาติได้จัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติมาระยะหนึ่งแล้ว และเนื่องจากสมาคมฯ มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการเรียนการสอนและการศึกษาปรัชญาในระดับโรงเรียนมัธยมในประเทศไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น จึงได้มีมติจัดการแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาในระดับชาติขึ้น เพื่อคัดเลือกตัวแทนไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ในระหว่างวันที่ 21 ถึง 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 นี้

รายละเอียดการสอบแข่งขันโอลิมปิกปรัชญาระดับชาติ

  1. สมาคมมีสิทธิส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกปรัชญานานาชาติ 2คน ดังนั้นจะคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 2 คนเป็นตัวแทนของประเทศไทย
  2. คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าแข่งขัน เป็นนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่กำลังศึกษาอยู่ในประเทศไทย หรือจบการศึกษาระดับมัธยมแล้วในขณะที่มาสอบ ในทุกกรณีต้องอายุไม่เกิน 20 ปี (เกิดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นไป)
  3. การจัดสอบแข่งขันจะจัดขึ้นในวันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสอบจะเป็นรูปแบบเดียวกันกับการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติ คือมีข้อเขียนคัดสรรจากงานเขียนของนักปรัชญาจำนวนหนึ่งมาให้เลือก และเขียนเรียงความเพื่อตอบและอภิปรายเกี่ยวกับข้อเขียนนั้น ใช้เวลาสี่ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 9.00 ถึง 13.00 น. การเขียนเรียงความต้องเขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านั้น คณะกรรมการที่สมาคมปรัชญาฯ จะแต่งตั้งขึ้นจะเป็นผู้ตรวจให้คะแนนนักเรียนที่เข้าสอบ โดยใช้รูปแบบเดียวกันกับการสอบโอลิมปิกนานาชาติ การแข่งขันจะประกาศผลออกมาเป็นชื่อนักเรียนที่ได้เป็นผู้แทนประเทศไทยไปร่วมแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติสองคน และสำรองอีกสองคน เรียงความที่ผู้เข้าสอบเขียนควรมีเนื้อหาที่ตรงประเด็นกับหัวข้อที่เลือก (relevance to the topic) ความเข้าใจประเด็นทางปรัชญาในหัวข้อที่เลือก (philosophical understanding of the topic) การแสดงเหตุผลโต้แย้งที่น่าเชื่อถือ (persuasive power of argumentation) ความคิดริเริ่ม (originality) และความสอดคล้องกันของความคิด (coherence) ในการสอบนักเรียนสามารถนำพจนานุกรมที่เป็นเล่มเข้าไปได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์หรือโทรศัพท์มือถือเข้าสอบ
  4. นักเรียนที่สนใจจะสมัครเข้าสอบแข่งขันกรุณาแจ้งความจำนงและกรอกใบสมัครส่งมาที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เทพทวี โชควศิน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตบางเขน กทม. 10900 อีเมล์ dr.theptawee@yahoo.com โดยขอให้สแกนภาพใบสมัครและบัตรประชาชนส่งมาทางอีเมล์ ภายในวันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
  5. เนื่องจากในขณะนี้สมาคมฯ ยังไม่มีงบประมาณในการส่งนักเรียนที่ได้รับคัดเลือกให้เดินทางไปร่วมการแข่งขันที่ประเทศโปรตุเกส นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโอลิมปิกนานาชาติจึงต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปยังสถานที่แข่งขันเอง ส่วนค่ากินอยู่และค่าที่พักระหว่างแข่งขันทางผู้จัดจะเป็นผู้ออกให้
  6. คำตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกถือเป็นที่สิ้นสุด

ประกาศมา ณ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2563

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

(ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์)
นายกสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดประกาศสมาคมฯ ในรูปแบบไฟล์ pdf

กำหนดการงานประชุมสามุญประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย

ในหัวข้อ “ปรัชญาและศาสนา กับ AI and Disruptive Technology”
โดย
สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต ศาลายา
วันที่ 20-21 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ตึก SH 4 ห้อง 508 ชั้น 5

วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม 2562

08.00-08.45 ลงทะเบียน
08.45-09.45 บรรยายพิเศษ Matthew Groh นักวิจัยสถาบัน MIT
09.45-10.00 รับประทานอาหารว่าง
10.00-11.00 เสวนา “AI กับชีวิต” ศ.ดร. โสรัจจ์ หงศลดารมภ์
11.00.-12.00 นำเสนอบทความ

Group AA– Friday 20th December 2019 (11.00 AM -12.00 PM)
11.00-11.30 – Prach Panchakunathorn “Risk-Taking and Justice”
11.30-12.00 – Jesada Buaban “AI Buddha: Savior in the Capital World”

12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 ศาสนากับ disruption, อาจารย์ วรพงษ์ เจริญวงษ์(มหิดล), ผศ.ดร. วรยุทธ ศรีวรกุล(อัสสัมชัญ)
14.00 – 14.15 พักน้ำชา/กาแฟ อาหารว่าง
14.15 – 15.45 นำเสนอบทความ

Group BA- Friday 20th December 2019 (14.15 PM -15.45 PM) Room A
14.15-14.45 – อำนาจ ยอดทอง “ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ในมุมมองพระพุทธศาสนา”
14.45-15.15 – มงคล เทียนประเทืองชัย “ปัญญาประดิษฐ์คิดและทำไม่เหมือนปัญญามนุษย์”
15.15-15.45 – สุมาลี มหณรงค์ชัย “ความหมายของศาสนาในยุคเทคโนโลยีรื้อทำลาย”

Group BB– Friday 20th December 2019 (14.15 PM -15.45 PM) Room B
14.15-14.45 – Hua Menglian “Big Data, E-Commerce and Deceptive Pricing”
14.45-15.15 – Li Wei and Xia Mingyue “The Ethical Problems of Virtual Eternity Technology and its Challenge to the Ethics of Chinese Deceased Culture”
15.15-15.45 – Zao Khamdai (Venerable) “B-technique”

15.45 – 16.45 ประชุมใหญ่ประจำปีสมาคม

วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2562
09.00-10.00 สนทนาเรื่อง Disruption ดร.จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน กับ ดร. ปิยณัฐ ประถมวงษ์
10.00-10.15 อาหารว่าง
10.15-11.45 นำเสนอบทความ

Group CA– Saturday 21st December 2019 (10.15 AM -11.45 AM) Room A
10.15-10.45 – ชุตริณธรณ์ ฝั้นศิริ “การพัฒนาความสุขตามทัศนะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต): ศึกษาเปรียบเทียบกับจิตวิทยาเชิงบวก”
10.45-11.15 – ธนีพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม “การพัฒนาจริยธรรมด้วยเรื่องเล่าทางศาสนา: การจัดจริยศึกษาตามแนวทางแบบเรื่องเล่าด้วยทศชาติชาดกสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี”
11.15-11.45 – ไพเราะ มากเจริญ “ปัญญาประดิษฐ์ต้องรับผลของกรรมหรือไม่: มุมมองจากพุทธศาสนาเถรวาท”

Group CB– Saturday 21st December 2019 (10.15 AM -11.45 AM) Room B
10.15-10.45 – ไลลา หริ่มเพ็ง “จริยศาสตร์แห่งความอาทรและจริยศาสตร์แห่งความยุติธรรมในการจัดสรรซะกาต”
10.45-11.15 – อนุชา พูลสิน “ความเข้าใจเรื่องฮาลาลของผู้ขอการรับรองอาหารฮาลาลจากคณะกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร: การศึกษาทัศนะผู้ให้คำปรึกษาโรงงาน”
11.15-11.45 – สุพิชชา เพชรสังข์ “การใช้มังงะเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้คำสอนทางพระพุทธศาสนา: “เดธโน้ต สมุดมรณะ” และกฎแห่งกรรม”

11.45 – 12.45 อาหารกลางวัน
12.45 – 13.45 เรื่อง บรรยายพิเศษ ศรชัย ฉัตรวิริยะชัย AI Arts: Blurrying the lines of Artists’ Agency or merely an emergence of re-contextualized industrial machines. ศิลปะกับปัญญาประดิษฐ์ : ตัวตนที่เลือนหายของศิลปินผู้สร้าง หรือ การผุดปรากฏของเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมในบริบทที่แตกต่า
13.45 – 14.00 อาหารว่าง
14.00 – 15.30 นำเสนอบทความ

Group DA– Saturday 21st December 2019 (14.00 PM -15.30 PM) Room A
14.00-14.30 – ธนัชชนม์ ธนาธิป-ปริพัฒน์ “การไม่สามารถแทนที่ของหุ่นยนต์นักบวชปัญญาประดิษฐ์: พิจารณาจากมุมมองพุทธศาสนา”
14.30-15.00 – อมรเทพฤทธิ์ สองสียนต์ และ ศักรินทร์ ณ น่าน “โลกที่ไม่ได้มีแค่มนุษย์: การเข้าใจรักโรแมนติกในสังคมดิจิตัลผ่านภาพยนตร์เรื่อง Her”
15.00-15.30 – รัฐพล เพชรบดี “ว่าด้วย มนุษย์ ชีวิต ความหมาย ความรัก และปัญญาประดิษฐ์ กับการสำรวจเชิงทดลองทางความคิด”

Group DB– Saturday 21st December 2019 (14.00 PM -15.30 PM) Room B
14.00-14.30 – เกลอ ประสิทธิเมกุล “เทคโนโลยีกำหนดความสุขอย่างนั้นหรือ?”
14.30-15.00 – เสาวณีย์ บุญคำ “การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่อง AI (การวินิจฉัย)ที่มีบทบาทต่อสังคมตามทรรศนะของปีเตอร์-พอล เฟอร์เบค”
14.00-14.30 – เสาวลักษณ์ บุญคำ “การวิเคราะห์เรื่องธรรมชาติของมนุษย์ในทรรศนะรูซโซเพื่อเสนอแก้ปัญหาอาชญากรรมในไทยเชิงประยุกต์”

15.30 ปิดประชุม

หมายเหตุ: ค่าลงทะเบียน สำหรับบุคคลทั่วไป 800 บาท สมาชิกสมาคมฯ 600 บาท นิสิตนักศึกษา 400 บาท
ค่าที่พักและค่าเดินทางเบิกได้ที่ต้นสังกัดตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค ๐๔๐๙.๖ฝว.๙๕ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ และเข้าร่วมอบรมโดยไม่ถือว่าเป็นวันลาเมื่อผู้บังคับบัญชาอนุญาตแล้ว

กำหนดการงานประชุมสามัญประจำปี 2562 (ฉบับร่าง) ในหัวข้อ “ปรัชญาและศาสนา กับ AI and Disruptive Technology”

กำหนดการงานประชุมสามัญประจำปี 2562 (ฉบับร่าง)
หัวข้อ “ปรัชญาและศาสนา กับ AI and Disruptive Technology”
โดย
สมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ร่วมกับ
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขต ศาลายา
วันที่ 20-21 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ตึก SH 4 ห้อง 508 ชั้น 5


วันศุกร์ที่ 20 ธันวาคม 2562
08.00-08.45 ลงทะเบียน
08.45-09.45 บรรยายพิเศษ Matthew Groh นักวิจัยสถาบัน MIT
09.45-10.00 รับประทานอาหารว่าง
10.00-11.00 เสวนา “AI กับชีวิต” ดร. นเรศ ดำรงชัย และ ศ.ดร. โสรัจจ์ หงศลดารมภ์
11.00.-12.00 นำเสนอบทความ
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.00 ศาสนากับ disruption, อาจารย์ วรพงษ์ เจริญวงษ์(มหิดล), ผศ.ดร. วรยุทธ ศรีวรกุล(อัสสัมชัญ)
14.00 – 14.15 พักน้ำชา/กาแฟ อาหารว่าง
14.15 – 15.45 นำเสนอบทความ
15.45 – 16.45 ประชุมใหญ่ประจำปีสมาคม

วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2562
09.00-10.00 เรื่อง Disruption กับทิศทางของสังคมไทย ดร.จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน กับ ดร. ปิยณัฐ ประถมวงษ์
10.00-10.15 อาหารว่าง
10.15-11.45 นำเสนอบทความ
11.45 – 12.45 อาหารกลางวัน
12.45 – 13.45 เรื่อง บรรยายพิเศษ ศรชัย ฉัตรวิริยะชัย AI Arts: Blurrying the lines of Artists’ Agency or merely an emergence of re-contextualized industrial machines. ศิลปะกับปัญญาประดิษฐ์ : ตัวตนที่เลือนหายของศิลปินผู้สร้าง หรือ การผุดปรากฏของเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมในบริบทที่แตกต่าง
13.45 – 14.00 อาหารว่าง
14.00 – 15.30 นำเสนอบทความ
15.30 ปิดประชุม

หมายเหตุ: ค่าลงทะเบียน สำหรับบุคคลทั่วไป 800 บาท สมาชิกสมาคมฯ 600 บาท นิสิตนักศึกษา 400 บาท
ค่าที่พักและค่าเดินทางเบิกได้ที่ต้นสังกัดตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค ๐๔๐๙.๖ฝว.๙๕ ลงวันที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ และเข้าร่วมอบรมโดยไม่ถือว่าเป็นวันลาเมื่อผู้บังคับบัญชาอนุญาตแล้ว

บทความที่ผ่านความเห็นชอบของผู้ทรงคุณวุฒิให้นำเสนอในงานประชุมสามัญประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2562

 

  1. Hua Menglian “Big Data, E-Commerce and Deceptive Pricing”
  2. Jesada Buaban “AI Buddha: Savior in the Capital World”
  3. Li Wei and Xia Mingyue “The Ethical Problems of Virtual Eternity Technology and its Challenge to the Ethics of Chinese Deceased Culture”
  4. Prach Panchakunathorn “Risk-Taking and Justice”
  5. Zao Khamdai (Venerable) “B-technique”
  6. เกลอ ประสิทธิเมกุล “เทคโนโลยีกำหนดความสุขอย่างนั้นหรือ?”
  7. ชุตริณธรณ์ ฝั้นศิริ “การพัฒนาความสุขตามทัศนะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต): ศึกษาเปรียบเทียบกับจิตวิทยาเชิงบวก”
  8. ธนัชชนม์ ธนาธิป-ปริพัฒน์ “การไม่สามารถแทนที่ของหุ่นยนต์นักบวชปัญญาประดิษฐ์: พิจารณาจากมุมมองพุทธศาสนา”
  9. ธนีพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม “การพัฒนาจริยธรรมด้วยเรื่องเล่าทางศาสนา: การจัดจริยศึกษาตามแนวทางแบบเรื่องเล่าด้วยทศชาติชาดกสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี”
  10. ไพเราะ มากเจริญ “ปัญญาประดิษฐ์ต้องรับผลของกรรมหรือไม่: มุมมองจากพุทธศาสนาเถรวาท”
  11. มงคล เทียนประเทืองชัย “ปัญญาประดิษฐ์คิดและทำไม่เหมือนปัญญามนุษย์”
  12. รัฐพล เพชรบดี “ว่าด้วย มนุษย์ ชีวิต ความหมาย ความรัก และปัญญาประดิษฐ์ กับการสำรวจเชิงทดลองทางความคิด”
  13. ไลลา หริ่มเพ็ง “จริยศาสตร์แห่งความอาทรและจริยศาสตร์แห่งความยุติธรรมในการจัดสรรซะกาต”
  14. วรเทพ ว่องสรรพการ “จินตนาการทางการเมือง: ศึกษาเปรียบเทียบขบวนการเบอร์ซีห์กับขบวนการภาคประชาชนในสังคมไทย”
  15. สุพิชชา เพชรสังข์ “การใช้มังงะเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้คำสอนทางพระพุทธศาสนา: “เดธโน้ต สมุดมรณะ” และกฎแห่งกรรม”
  16. สุมาลี มหณรงค์ชัย “ความหมายของศาสนาในยุคเทคโนโลยีรื้อทำลาย”
  17. เสาวณีย์ บุญคำ “การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่อง AI (การวินิจฉัย)ที่มีบทบาทต่อสังคมตามทรรศนะของปีเตอร์-พอล เฟอร์เบค”
  18. เสาวลักษณ์ บุญคำ “การวิเคราะห์เรื่องธรรมชาติของมนุษย์ในทรรศนะรูซโซเพื่อเสนอแก้ปัญหาอาชญากรรมในไทยเชิงประยุกต์”
  19. อนุชา พูลสิน “ความเข้าใจเรื่องฮาลาลของผู้ขอการรับรองอาหารฮาลาลจากคณะกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพมหานคร: การศึกษาทัศนะผู้ให้คำปรึกษาโรงงาน”
  20. อมรเทพฤทธิ์ สองสียนต์ และ ศักรินทร์ ณ น่าน “โลกที่ไม่ได้มีแค่มนุษย์: การเข้าใจรักโรแมนติกในสังคมดิจิตัลผ่านภาพยนตร์เรื่อง Her”
  21. อัญชลิตา สุวรรณะชฎ “ตรรกะและภาษาของ รูดอล์ฟ คาร์นาป”
  22. อำนาจ ยอดทอง “ประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ในมุมมองพระพุทธศาสนา”

Author will receive comments from reviewers via E-mail. Please have your paper revised according to the comments. Send an MS-Word file of your revised paper to Assist. Prof. Dr.Theptawee Chokvasin within Monday 16th December, 2019. The revised papers will be compiled into the proceeding of the Society.
ผู้เขียนจะได้รับคำแนะนำเพื่อการปรับปรุงแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ ดังที่จะส่งให้อีกครั้งหนึ่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ ขอให้ผู้เขียนพิจารณาปรับแก้ไขตามคำแนะนำและส่งฉบับแก้ไขให้ ผศ.ดร.เทพทวี โชควศิน ภายในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคมนี้ เพื่อที่จะได้รวบรวมและนำเข้าสู่เอกสารสืบเนื่องของการประชุมสัมมนาต่อไป

ประกาศรับบทความ

ประกาศรับบทความ

ขอเชิญส่งบทความเพื่อนำเสนอในงานประชุมสามัญประจำปีของสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย วันที่ 20-21 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา

ในหัวข้อ “ปรัชญาและศาสนา กับ AI and Disruptive Technology”

บทความที่ส่งรับพิจารณา อาจอยู่ในหัวข้อใดๆในสาขาวิชาปรัชญาหรือศาสนาหรือสาขาที่เกี่ยวข้องก็ได้

ผู้สนใจสามารถเลือกส่งผลงานได้จากสองรูปแบบ ได้แก่ (1) บทคัดย่อประมาณ 1 หน้ากระดาษ หรือ (2) บทความฉบับเต็ม ความยาว 10- 15 หน้า A4 โดยรวมเชิงอรรถ บรรณานุกรม ฯลฯ ทั้งหมดแล้ว ใช้การอ้างอิงแบบ APA

กำหนดส่งบทความภายในวันที่ 15 ตุลาคม 2562 และสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทยจะแจ้งผลการพิจารณา ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2562

ส่งบทความหรือบทคัดย่อที่ ผศ.ดร. เทพทวี โชควศิน dr.theptawee@yahoo.com

Book Project on Love and Friendship across Cultures – Philosophy Meeting

The Philosophy and Religion Society of Thailand and the Philosophical Association of the Philippines are collaborating to publish a book volume entitled “Love and Friendship Across Cultures” to be published by Springer. The book volume contains some of the papers that were presented during the First Joint Meeting of the two associations in July 2019. However, we plan to include more papers through this general call for chapters too.

Papers can be submitted for consideration of inclusion in the book provided that they deal with love and friendship in a cross-cultural dimension in one way or another. Chapters that deal with love and frienship (or only one of the two) from an Asian or from a religious perspective (Buddhist, Christian, Islamic, and so on), or those that focus on comparative aspects (for example, between Buddhist and Greek traditions, and so on) are particularly welcome. Papers need to be philosophically rigorous and meet the standard of internationally accepted scholarship.

Papers should be between 5,000 to 8,000 words and please follow the APA citation format. Please also submit an abstract of 200 words together with the paper. Deadline for submitting the paper is December 31, 2019. Please send the paper to me at soraj.h@mso.chula.edu and in the email please put the phrase “[Book Project – Love]” in the subject heading so that I can easily distinguish your submission from all other mails. Only papers in .doc, .docx, or .odt format are allowed.